การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำหรับเครื่องมือแต่ละชนิด
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะ/การนำไปใช้แตกต่างกัน การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือจึงมีจุดเน้นต่างกัน ซึ่งสรุปได้ดังนี้
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
- ตรวจรายข้อ
1. ความตรงตามเนื้อหา
-หา
IOC
2. ความยาก
-เทคนิค 27%
3. อำนาจจำแนก
-เทคนิค 27%(ถ้าผู้เข้าสอบไม่มากใช้การแบ่งครึ่ง)
หรือ Point Biserial
4. ดัชนีความไว
-ความสามารถในการจำแนกผู้ที่เรียนรู้แล้วและผู้ที่ยังไม่ได้เรียนรู้
ใช้ในแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์
- ตรวจทั้งฉบับ
1. ความตรงตามเนื้อหา
-หา
IOC
2. ความเที่ยง
2.1 แบบอิงกลุ่ม
- สอบซ้ำ
หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สูตรของเพียร์สัน
- แบบสอบคู่ขนาน
หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สูตรของเพียร์สัน
- หาความคงที่ภายใน
- แบ่งครึ่งข้อสอบ
หาครึ่งฉบับด้วยสูตรของเพียร์สัน
แล้วหาเต็มฉบับด้วยสูตรของสเปียร์แมน บราวน์
- ใช้สูตร KR-20, KR-21
(กรณีคะแนนเป็น 0 กับ
1)
- ใช้สูตรของครอนบาค(การหาสัมประสิทธิ์แอลฟา)
(กรณีคะแนนไม่ใช่ 0 กับ 1)
2.2 แบบอิงเกณฑ์
-ใช้วิธีของลิฟวิงตัน
3. ความยากทั้งฉบับ
- นำความยากของตัวถูกแต่ละข้อมารวมกัน
หารด้วยจำนวนข้อทั้งหมด แล้วไปเทียบกับค่า .50
4. อำนาจจำแนกทั้งฉบับ
- หาพิสัยค่าอำนาจจำแนกสูงสุดกับต่ำสุด
5. หาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน
- ใช้สูตร
แบบสอบสติปัญญาและความถนัด
1. ความตรง
- ความตรงเชิงประจักษ์
-
จากความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ เพื่อดูความตรงเชิงโครงสร้าง
- ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์
- เทียบกับแบบสอบมาตรฐาน แล้วหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
สูตรของเพียร์สัน
- ความตรงตามองค์ประกอบ
- โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
เทียบกับแบบสอบหลาย ๆ ฉบับ แล้วนำมาหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายใน
2. ความเที่ยง
- สอบซ้ำ
หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สูตรของเพียร์สัน
- แบบสอบคู่ขนาน
หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สูตรของเพียร์สัน
- แบ่งครึ่งข้อสอบ
หาครึ่งฉบับด้วยสูตรของเพียร์สัน
แล้วหาเต็มฉบับด้วยสูตรของสเปียร์แมน บราวน์
- ใช้สูตร KR-20, KR-21
(กรณีคะแนนเป็น 0 กับ
1)
3. อำนาจจำแนก
- ใช้สูตรอย่างง่าย (จากเทคนิค 25%)
-
สหสัมพันธ์ Point Biserial(ความสัมพันธ์ของคะแนนแต่ละข้อกับคะแนนรวม)
- เปิดตาราง จุง เตห์ ฟาน (จากเทคนิค 27%)
4. ความยาก
5. ความเป็นปรนัย
-จากความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
แบบวัดทักษะปฏิบัติ
1. ความตรง
- ความตรงตามเนื้อหา
-หา
IOC
- ความตรงเชิงจำแนก
-เทคนิคกลุ่มรู้ชัด แล้วเปรียบเทียบโดยใช้
t-test
-ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์
-หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
สูตรของเพียร์สัน นำคะแนนมาเทียบกับเกณฑ์
2. ความเที่ยง
- สอบซ้ำ
-หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สูตรของเพียร์สัน
- ความเที่ยงระหว่างผู้ประเมิน(ประเมินสิ่งเดียวกัน)
-หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
สูตรของเพียร์สัน
แบบสัมภาษณ์
1. ความตรง
- ความตรงตามเนื้อหา
-หา
IOC
- ความตรงตามโครงสร้าง
-จากความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
- ความตรงเชิงพยากรณ์
-ใช้สูตรของเพียร์สัน(เทียบกับคะแนนเกณฑ์)
2. ความเที่ยง
-หาความเที่ยงเชิงความคงที่โดยการทดลองซ้ำ
3.ความเป็นปรนัย
-จากความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
4. ความมีประสิทธิภาพ
5. ความสะดวกในการนำไปใช้
แบบสอบถาม
1. ความตรง
- ความตรงทั่วไป
-จากความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
- ความตรงตามเนื้อหา
-หา
IOC
- ความตรงเชิงโครงสร้าง
-เทคนิคกลุ่มรู้ชัด แล้วเปรียบเทียบโดยใช้
t-test
2. ความเที่ยง
- หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา(กรณีมาตรประมาณค่า)
- วัดซ้ำ(กรณีไม่ใช่มาตรประมาณค่า)
แบบสังเกต
แบบสังเกต
เป็นเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในด้านคุณลักษณะ พฤติกรรมหรือลักษณะนิสัย
ที่สังเกตได้โดยตรงและพฤติกรรมที่แฝงอยู่ การสังเกตจึงต้องมีสองส่วนประกอบกันคือ
ผู้สังเกตและแบบที่ใช้สังเกต
- ตรวจรายข้อ
1. ความตรงตามเนื้อหา
-หา IOC
2. อำนาจจำแนก
-เพื่อคัดเลือกข้อที่ให้ผลสอดคล้องกับข้ออื่น
ๆ ที่เหลือทั้งหมดใช้สูตรของเพียร์สัน
-หรือ
t-test
จากกลุ่มสูง/กลุ่มต่ำ
- ตรวจทั้งฉบับ
1. ความตรงตามจุดมุ่งหมาย
-จากความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
2. ความตรงตามโครงสร้าง
-เทคนิคกลุ่มรู้ชัด
แล้วเปรียบเทียบโดยใช้
t-test
3. ความเที่ยง
- สุ่มเหตุการณ์
-ใช้ผู้สังเกต 2 คนแล้วหาสัมประสิทธิ์ความสอดคล้อง
(ผลหารจาก ความถี่(ที่สังเกตได้)น้อย หารด้วย ความถี่ที่สังเกตได้ มาก
เช่นคนที่ 1 สังเกตพบ 5 ครั้ง คนที่ 2 สังเกตพบ 7 ครั้ง เท่ากับ 5 หารด้วย 7 คือ
.71)
- สุ่มเวลา
-หาสัมประสิทธิ์ความสอดคล้อง
(สูตรแบบง่ายคือ จำนวนครั้งที่ผลสังเกตตรงกันรวมกับผลสังเกตที่ไม่ตรงกัน
หารด้วยจำนวนครั้งที่สังเกต)
-แบบสังเกตที่เป็นแบบตรวจสอบรายการ ถ้าคะแนน 1 กับ 0 ใช้
KR-20/
ถ้าเป็นมาตรประมาณค่า(คะแนน0-1-2)ใช้ แอลฟา
ถ้าผู้สังเกตหลายคน ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน(ANOVA)
แบบวัดบุคลิกภาพ
- ตรวจขั้นต้น
1. ความตรงเชิงพินิจ
-จากความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
- วิเคราะห์รายข้อ
-หาอำนาจจำแนก
จากคะแนนกลุ่มสูง/กลุ่มต่ำ เปรียบเทียบโดยใช้
t-test เกณฑ์ 1.75 ขึ้นไป
- ตรวจทั้งฉบับ
1. ความตรงเชิงโครงสร้าง
-หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สูตรของเพียร์สันจากแบบวัดสองฉบับ
-เทคนิคกลุ่มรู้ชัด แล้วเปรียบเทียบโดยใช้
t-test
2. ความเที่ยง
-ใช้สัมประสิทธิ์แอลฟา
แบบวัดเจตคติ
- ของเทอร์สโตน
1. ความตรงตามโครงสร้าง
-เทคนิคกลุ่มรู้ชัด
แล้วเปรียบเทียบโดยใช้
t-test
2. ความเที่ยง
- สอบซ้ำ
-หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สูตรของเพียร์สัน
- แบ่งครึ่งข้อสอบ
-หาครึ่งฉบับด้วยสูตรของเพียร์สัน
แล้วหาเต็มฉบับด้วยสูตรของสเปียร์แมน บราวน์
- ของลิเคิร์ท
- วิเคราะห์รายข้อ
- หาสัมประสิทธิสหสัมพันธ์
-หาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สูตรของเพียร์สัน(ข้อที่หากับคะแนนรวมของข้ออื่น
ๆ)
-เปรียบเทียบกลุ่มสูง/กลุ่มต่ำ(25%) แล้วใช้
t-test
- วิเคราะห์ทั้งฉบับ
- ความตรงตามเนื้อหา
-จากความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
- ความตรงตามโครงสร้าง
-เทคนิคกลุ่มรู้ชัด
แล้วเปรียบเทียบโดยใช้
t-test
-
วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน(โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์)
- ความเที่ยง
- สอบซ้ำ
- แบ่งครึ่ง
- ครอนบาค
- ของออสกูด (เหมือนลิเคิร์ท)
- ของฟิชบาย และไอเซน (เหมือนลิเคิร์ท)
-ที่มา : ประมวลสาระชุดวิชา 24703 การพัฒนาเครื่องมือสำหรับการประเมินการศึกษา